• 1

  • 2

  • 3

  • 4

  • 5

  • 5

  • 5

Copyright 2024 - เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ 02-2579 - 0113

ช่องทางการชำระเงิน: 1.Scan QR CODE / 2.KMA Application / 3.เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงศรีฯ

กำหนดวันชำระเงิน:    ตั้งแต่วันที่ 10 - 20 พฤศจิกายน 2567

หมายเหตุ กรณีชำระล่าช้า เกินกำหนดวันที่ 20 นิสิตต้องติดต่อชำระด้วยเงินสดที่การเงิน หอพักกฤษณา (หอพักนานาชาติ) พร้อมเสียค่าปรับ
ในวันและเวลาทำการวันจันทร์ - วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 8.30 - 16.00 น. (ยกเว้นวันหยุดและวันนักขัตฤกษ์)

ดาวน์โหลดใบชำระค่าธรรมเนียม!! (สำหรับนิสิตไทย)     
Download Bill Payment!! (For Krissana International Dormitory)

หอพัก  ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อผู้ชำระค่าธรรมเนียม
1. หอพักพุทธชาด ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
2. หอพักขจีนุช ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
3. หอพักลีลาวดี ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
4. หอพักเฟื่องฟ้า ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
5. หอพักสุพรรณิการ์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
6. หอพักแสงจันทร์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
7. Krissana International Dormitory Utility fees Payer list
    Phuttachat Dormitory (International Student) Utility fees Payer list

 

**************************ประกาศ ปี 2565*******************************************

สำหรับนิสิตหอพักใน 

- ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหอพักนิสิต ม.เกษตร

สำหรับนิสิตหอพักซอยพหลโยธิน 45 [Soi Phaholyothin 45 Dormitories]

> การสมัครนิสิตเข้าอยู่หอพักหอพักซอยพหลโยธิน 45 (สำหรับนิสิตไทย ระดับปริญญาตรี รหัส 65)  
ขั้นตอนการสละสิทธิ์การอยู่หอพัก 
แบบฟอร์มคำร้องสละสิทธิ์การอยู่หอพัก
ร้านค้าภายในหอพักซอยพหลโยธิน 45

***************************************************************************************
Krissana International Dormitory [For Foreign Student and Graduate Student]

Sample room
Accommodation Fees & Required Document 
Service Fees & Fines of KID 
Rules & Regulations of KID 
Dormitory Application Form 
[After filling out an application form, please send to email:
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. with LOA and waiting for confirmation]
TM.30 Notification of Residence for Foreigners 

---------------------------------------------------------------------------------------------

         

 

อาจารย์พิกุล บุญประเสริฐ
ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองกิจการนิสิต,๒๕๕๑

ในอดีตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีลักษณะเป็นทุ่งนาห่างไกลจากบ้านเมือง สภาพเเวดล้อม โดยรอบยังเป็นทุ่งนา ซึ่งมีชื่อเรียกในสมัยนั้นว่า "ทุ่งบางเขน" นิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุกคนต้องอยู่หอพัก เพราะมหาวิทยาลัยอยู่ไกล การเข้าถึงนั้นลำบาก เเละนิสิตต้องใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับพืชเเละสัตว์เป็นจำนวนมาก การพักอาศัยอยู่ในมหาวิทยาลัยจึงเป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงจัดสร้างหอพักเพื่อเป็นสวัสดิการให้เเก่นิสิต เพื่ออำนวยความสะดวก ให้เเก่นิสิตพระพิรุณรับน้อง (๒๕๒๔ - ๒๕๒๕) หอพักนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้นถือว่าเป็นการศึกษาให้เปล่า คือนักศึกษาไม่ต้องชำระค่าเล่าเรียน เเละค่าหอพัก เเต่ต้องจ่ายค่าอาหารเดือนละ ๑๕ บาท (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๓๗ : ๑๙ ) มหาวิทยาลัยได้สร้างหอพักเรียงตามเเถวถนน หอ ๑ จรดสายเมน ประตู ๑ ถึงโรงสูบ ลักษณะเป็นเรือนไม้ ๒ ชั้น มีมุขยื่นออกมา ชั้นบนเป็นหอนอน ชั้นล่าเป็นตู้เก็บเสื้อผ้า โต๊ะทำงานเเละสิ่งอำนวยความสะดวกอีกตามสมควร สำหรับห้องสุขาใช้รวมกัน ด้านหลังเป็นโรงอาหารเเละโรงครัว นิสิตทุกคนต้องมารับประทานอาหารทุกมื้อ ต่อมามหาวิทยาลัยมีโครงการเพิ่มคณะวิชา เเละรับนิสิตเข้าศึกษาเพิ่มขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้น ๙ หลัง ๑๕ หลัง เเละ ๒๓ หลัง ตามลำดับ

ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๖ - ๒๔๙๒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีนิสิตเป็นชายล้วน จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงมีนิสิตหญิงเข้ามาศึกษาเป็นรุ่นเเรก หอพักหญิงในช่วงเเรกๆ มีหอพัก ๑๐ ก. เเละหอพัก ๑๐ ข. โดยที่หอพัก ๑๐ ก. เป็นหอพักหญิง ๒ ชั้น ซึ่งมีมาก่อนหอพักหญิง ๑๐ ข. ซึ่งดัดเเปลงมาจาก บ้านพักอาจารย์ มีชั้นเดียว หอพักหญิง อยู่ตรงข้าม กับเรือนเเถวข้าราชการชั้นจัตวา ซึ่งเเต่ละหอพักมีอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เตียงชั้นเดียว โต๊ะ ตู้ เก้าอี้ เป็นต้น ส่วนห้องน้ำเป็นลักษณะห้องน้ำรวมอยู่ทางเเต่ละปีกของอาคาร ซึ่งมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยดูเเลนิสิต หอพักหญิงในสมัยก่อนไม่ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันนี้ เเต่อยู่ใกล้ๆ กัน คือบริเวณที่ตั้งของสำนักพิพิธภัณฑ์เเละ วัฒนธรรมการเกษตร ซึ่งอยู่ภายใต้การดูเเลของหน่วยหอพัก ซึ่งสมัยก่อนเป็นหน่วยงานเล็กๆ ที่ทำการอยู่ที่ตึกสัตวบาล (สหกรณ์ร้านค้า มก. ในปัจจุบัน) ซึ่งบริเวณโดยรอบของหอพักหญิงติดกับฟาร์มเลี้ยงไก่เเละบ่อปลา ต่อมาเมื่อมหาวิทยาลัยมีจำนวนนิสิตเพิ่มมากขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนี้ ตึกพักหญิงบุษกร ต่อมาสร้างหอพักหญิงราชาวดี ขจีนุช พุทธรักษา มหาหงส์ ชงโค เเละตึกพักหญิงชวนชม ตึกพักชายที่ ๑๒, ๑๓, ๑๔ เเละสุดท้ายตึกพักชายที่ ๑๕ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่สร้างเป็นหอพักหญิง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สำหรับทำการเพาะปลูกหรือเเปลงทดลองทางการเกษตร ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ มหาวิทยาลัยได้ตั้งองค์การนิสิตขึ้นเป็นครั้งเเรก เก็บค่าหอพัก๖๐ บาท พ.ศ. ๒๔๙๙ นิสิตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมหอพักปีละ ๓๐๐ บาท ค่าธรรมเนียมหอพักได้เพิ่มขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. ๒๕๒๑ ค่าธรรมเนียมได้เพิ่มขึ้นเป็นภาคการศึกษาละ ๕๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๓๒ ซึ่งเป็นปีเเรกที่มีการนำน้ำประปามาใช้ในหอพักเเทนการใช้น้ำบาดาล ในปัจจุบันเสียค่าธรรมเนียมภาคการศึกษาละ ๒,๐๐๐ บาท ซึ่งเปลี่ยนเเปลงมาจาก ๗๕๐ บาท ในปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๘

Search

หน้าที่ 2

ช่องทางการชำระเงิน: 1.Scan QR CODE / 2.KMA Application / 3.เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงศรีฯ

กำหนดวันชำระเงิน:    ตั้งแต่วันที่ 10 - 20 พฤศจิกายน 2567

หมายเหตุ กรณีชำระล่าช้า เกินกำหนดวันที่ 20 นิสิตต้องติดต่อชำระด้วยเงินสดที่การเงิน หอพักกฤษณา (หอพักนานาชาติ) พร้อมเสียค่าปรับ
ในวันและเวลาทำการวันจันทร์ - วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 8.30 - 16.00 น. (ยกเว้นวันหยุดและวันนักขัตฤกษ์)

ดาวน์โหลดใบชำระค่าธรรมเนียม!! (สำหรับนิสิตไทย)     
Download Bill Payment!! (For Krissana International Dormitory)

หอพัก  ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อผู้ชำระค่าธรรมเนียม
1. หอพักพุทธชาด ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
2. หอพักขจีนุช ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
3. หอพักลีลาวดี ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
4. หอพักเฟื่องฟ้า ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
5. หอพักสุพรรณิการ์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
6. หอพักแสงจันทร์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
7. Krissana International Dormitory Utility fees Payer list
    Phuttachat Dormitory (International Student) Utility fees Payer list

 

**************************ประกาศ ปี 2565*******************************************

สำหรับนิสิตหอพักใน 

- ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหอพักนิสิต ม.เกษตร

สำหรับนิสิตหอพักซอยพหลโยธิน 45 [Soi Phaholyothin 45 Dormitories]

> การสมัครนิสิตเข้าอยู่หอพักหอพักซอยพหลโยธิน 45 (สำหรับนิสิตไทย ระดับปริญญาตรี รหัส 65)  
ขั้นตอนการสละสิทธิ์การอยู่หอพัก 
แบบฟอร์มคำร้องสละสิทธิ์การอยู่หอพัก
ร้านค้าภายในหอพักซอยพหลโยธิน 45

***************************************************************************************
Krissana International Dormitory [For Foreign Student and Graduate Student]

Sample room
Accommodation Fees & Required Document 
Service Fees & Fines of KID 
Rules & Regulations of KID 
Dormitory Application Form 
[After filling out an application form, please send to email:
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. with LOA and waiting for confirmation]
TM.30 Notification of Residence for Foreigners 

---------------------------------------------------------------------------------------------

         

 

อาจารย์พิกุล บุญประเสริฐ
ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองกิจการนิสิต,๒๕๕๑

ในอดีตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีลักษณะเป็นทุ่งนาห่างไกลจากบ้านเมือง สภาพเเวดล้อม โดยรอบยังเป็นทุ่งนา ซึ่งมีชื่อเรียกในสมัยนั้นว่า "ทุ่งบางเขน" นิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุกคนต้องอยู่หอพัก เพราะมหาวิทยาลัยอยู่ไกล การเข้าถึงนั้นลำบาก เเละนิสิตต้องใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับพืชเเละสัตว์เป็นจำนวนมาก การพักอาศัยอยู่ในมหาวิทยาลัยจึงเป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงจัดสร้างหอพักเพื่อเป็นสวัสดิการให้เเก่นิสิต เพื่ออำนวยความสะดวก ให้เเก่นิสิตพระพิรุณรับน้อง (๒๕๒๔ - ๒๕๒๕) หอพักนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้นถือว่าเป็นการศึกษาให้เปล่า คือนักศึกษาไม่ต้องชำระค่าเล่าเรียน เเละค่าหอพัก เเต่ต้องจ่ายค่าอาหารเดือนละ ๑๕ บาท (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๓๗ : ๑๙ ) มหาวิทยาลัยได้สร้างหอพักเรียงตามเเถวถนน หอ ๑ จรดสายเมน ประตู ๑ ถึงโรงสูบ ลักษณะเป็นเรือนไม้ ๒ ชั้น มีมุขยื่นออกมา ชั้นบนเป็นหอนอน ชั้นล่าเป็นตู้เก็บเสื้อผ้า โต๊ะทำงานเเละสิ่งอำนวยความสะดวกอีกตามสมควร สำหรับห้องสุขาใช้รวมกัน ด้านหลังเป็นโรงอาหารเเละโรงครัว นิสิตทุกคนต้องมารับประทานอาหารทุกมื้อ ต่อมามหาวิทยาลัยมีโครงการเพิ่มคณะวิชา เเละรับนิสิตเข้าศึกษาเพิ่มขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้น ๙ หลัง ๑๕ หลัง เเละ ๒๓ หลัง ตามลำดับ

ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๖ - ๒๔๙๒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีนิสิตเป็นชายล้วน จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงมีนิสิตหญิงเข้ามาศึกษาเป็นรุ่นเเรก หอพักหญิงในช่วงเเรกๆ มีหอพัก ๑๐ ก. เเละหอพัก ๑๐ ข. โดยที่หอพัก ๑๐ ก. เป็นหอพักหญิง ๒ ชั้น ซึ่งมีมาก่อนหอพักหญิง ๑๐ ข. ซึ่งดัดเเปลงมาจาก บ้านพักอาจารย์ มีชั้นเดียว หอพักหญิง อยู่ตรงข้าม กับเรือนเเถวข้าราชการชั้นจัตวา ซึ่งเเต่ละหอพักมีอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เตียงชั้นเดียว โต๊ะ ตู้ เก้าอี้ เป็นต้น ส่วนห้องน้ำเป็นลักษณะห้องน้ำรวมอยู่ทางเเต่ละปีกของอาคาร ซึ่งมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยดูเเลนิสิต หอพักหญิงในสมัยก่อนไม่ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันนี้ เเต่อยู่ใกล้ๆ กัน คือบริเวณที่ตั้งของสำนักพิพิธภัณฑ์เเละ วัฒนธรรมการเกษตร ซึ่งอยู่ภายใต้การดูเเลของหน่วยหอพัก ซึ่งสมัยก่อนเป็นหน่วยงานเล็กๆ ที่ทำการอยู่ที่ตึกสัตวบาล (สหกรณ์ร้านค้า มก. ในปัจจุบัน) ซึ่งบริเวณโดยรอบของหอพักหญิงติดกับฟาร์มเลี้ยงไก่เเละบ่อปลา ต่อมาเมื่อมหาวิทยาลัยมีจำนวนนิสิตเพิ่มมากขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนี้ ตึกพักหญิงบุษกร ต่อมาสร้างหอพักหญิงราชาวดี ขจีนุช พุทธรักษา มหาหงส์ ชงโค เเละตึกพักหญิงชวนชม ตึกพักชายที่ ๑๒, ๑๓, ๑๔ เเละสุดท้ายตึกพักชายที่ ๑๕ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่สร้างเป็นหอพักหญิง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สำหรับทำการเพาะปลูกหรือเเปลงทดลองทางการเกษตร ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ มหาวิทยาลัยได้ตั้งองค์การนิสิตขึ้นเป็นครั้งเเรก เก็บค่าหอพัก๖๐ บาท พ.ศ. ๒๔๙๙ นิสิตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมหอพักปีละ ๓๐๐ บาท ค่าธรรมเนียมหอพักได้เพิ่มขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. ๒๕๒๑ ค่าธรรมเนียมได้เพิ่มขึ้นเป็นภาคการศึกษาละ ๕๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๓๒ ซึ่งเป็นปีเเรกที่มีการนำน้ำประปามาใช้ในหอพักเเทนการใช้น้ำบาดาล ในปัจจุบันเสียค่าธรรมเนียมภาคการศึกษาละ ๒,๐๐๐ บาท ซึ่งเปลี่ยนเเปลงมาจาก ๗๕๐ บาท ในปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๘

หน้าที่ 3

ช่องทางการชำระเงิน: 1.Scan QR CODE / 2.KMA Application / 3.เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงศรีฯ

กำหนดวันชำระเงิน:    ตั้งแต่วันที่ 10 - 20 พฤศจิกายน 2567

หมายเหตุ กรณีชำระล่าช้า เกินกำหนดวันที่ 20 นิสิตต้องติดต่อชำระด้วยเงินสดที่การเงิน หอพักกฤษณา (หอพักนานาชาติ) พร้อมเสียค่าปรับ
ในวันและเวลาทำการวันจันทร์ - วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 8.30 - 16.00 น. (ยกเว้นวันหยุดและวันนักขัตฤกษ์)

ดาวน์โหลดใบชำระค่าธรรมเนียม!! (สำหรับนิสิตไทย)     
Download Bill Payment!! (For Krissana International Dormitory)

หอพัก  ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อผู้ชำระค่าธรรมเนียม
1. หอพักพุทธชาด ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
2. หอพักขจีนุช ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
3. หอพักลีลาวดี ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
4. หอพักเฟื่องฟ้า ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
5. หอพักสุพรรณิการ์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
6. หอพักแสงจันทร์ ค่าสาธารณูปโภค รายชื่อนิสิตชำระค่าสาธารณูปโภค
7. Krissana International Dormitory Utility fees Payer list
    Phuttachat Dormitory (International Student) Utility fees Payer list

 

**************************ประกาศ ปี 2565*******************************************

สำหรับนิสิตหอพักใน 

- ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับหอพักนิสิต ม.เกษตร

สำหรับนิสิตหอพักซอยพหลโยธิน 45 [Soi Phaholyothin 45 Dormitories]

> การสมัครนิสิตเข้าอยู่หอพักหอพักซอยพหลโยธิน 45 (สำหรับนิสิตไทย ระดับปริญญาตรี รหัส 65)  
ขั้นตอนการสละสิทธิ์การอยู่หอพัก 
แบบฟอร์มคำร้องสละสิทธิ์การอยู่หอพัก
ร้านค้าภายในหอพักซอยพหลโยธิน 45

***************************************************************************************
Krissana International Dormitory [For Foreign Student and Graduate Student]

Sample room
Accommodation Fees & Required Document 
Service Fees & Fines of KID 
Rules & Regulations of KID 
Dormitory Application Form 
[After filling out an application form, please send to email:
This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. with LOA and waiting for confirmation]
TM.30 Notification of Residence for Foreigners 

---------------------------------------------------------------------------------------------

         

 

อาจารย์พิกุล บุญประเสริฐ
ผู้ช่วยผู้อำนวยการกองกิจการนิสิต,๒๕๕๑

ในอดีตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีลักษณะเป็นทุ่งนาห่างไกลจากบ้านเมือง สภาพเเวดล้อม โดยรอบยังเป็นทุ่งนา ซึ่งมีชื่อเรียกในสมัยนั้นว่า "ทุ่งบางเขน" นิสิตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทุกคนต้องอยู่หอพัก เพราะมหาวิทยาลัยอยู่ไกล การเข้าถึงนั้นลำบาก เเละนิสิตต้องใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับพืชเเละสัตว์เป็นจำนวนมาก การพักอาศัยอยู่ในมหาวิทยาลัยจึงเป็นสิ่งจำเป็น ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงจัดสร้างหอพักเพื่อเป็นสวัสดิการให้เเก่นิสิต เพื่ออำนวยความสะดวก ให้เเก่นิสิตพระพิรุณรับน้อง (๒๕๒๔ - ๒๕๒๕) หอพักนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้นถือว่าเป็นการศึกษาให้เปล่า คือนักศึกษาไม่ต้องชำระค่าเล่าเรียน เเละค่าหอพัก เเต่ต้องจ่ายค่าอาหารเดือนละ ๑๕ บาท (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๓๗ : ๑๙ ) มหาวิทยาลัยได้สร้างหอพักเรียงตามเเถวถนน หอ ๑ จรดสายเมน ประตู ๑ ถึงโรงสูบ ลักษณะเป็นเรือนไม้ ๒ ชั้น มีมุขยื่นออกมา ชั้นบนเป็นหอนอน ชั้นล่าเป็นตู้เก็บเสื้อผ้า โต๊ะทำงานเเละสิ่งอำนวยความสะดวกอีกตามสมควร สำหรับห้องสุขาใช้รวมกัน ด้านหลังเป็นโรงอาหารเเละโรงครัว นิสิตทุกคนต้องมารับประทานอาหารทุกมื้อ ต่อมามหาวิทยาลัยมีโครงการเพิ่มคณะวิชา เเละรับนิสิตเข้าศึกษาเพิ่มขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้น ๙ หลัง ๑๕ หลัง เเละ ๒๓ หลัง ตามลำดับ

ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๖ - ๒๔๙๒ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีนิสิตเป็นชายล้วน จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๓ จึงมีนิสิตหญิงเข้ามาศึกษาเป็นรุ่นเเรก หอพักหญิงในช่วงเเรกๆ มีหอพัก ๑๐ ก. เเละหอพัก ๑๐ ข. โดยที่หอพัก ๑๐ ก. เป็นหอพักหญิง ๒ ชั้น ซึ่งมีมาก่อนหอพักหญิง ๑๐ ข. ซึ่งดัดเเปลงมาจาก บ้านพักอาจารย์ มีชั้นเดียว หอพักหญิง อยู่ตรงข้าม กับเรือนเเถวข้าราชการชั้นจัตวา ซึ่งเเต่ละหอพักมีอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เตียงชั้นเดียว โต๊ะ ตู้ เก้าอี้ เป็นต้น ส่วนห้องน้ำเป็นลักษณะห้องน้ำรวมอยู่ทางเเต่ละปีกของอาคาร ซึ่งมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยดูเเลนิสิต หอพักหญิงในสมัยก่อนไม่ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ปัจจุบันนี้ เเต่อยู่ใกล้ๆ กัน คือบริเวณที่ตั้งของสำนักพิพิธภัณฑ์เเละ วัฒนธรรมการเกษตร ซึ่งอยู่ภายใต้การดูเเลของหน่วยหอพัก ซึ่งสมัยก่อนเป็นหน่วยงานเล็กๆ ที่ทำการอยู่ที่ตึกสัตวบาล (สหกรณ์ร้านค้า มก. ในปัจจุบัน) ซึ่งบริเวณโดยรอบของหอพักหญิงติดกับฟาร์มเลี้ยงไก่เเละบ่อปลา ต่อมาเมื่อมหาวิทยาลัยมีจำนวนนิสิตเพิ่มมากขึ้น จึงได้สร้างหอพักเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนี้ ตึกพักหญิงบุษกร ต่อมาสร้างหอพักหญิงราชาวดี ขจีนุช พุทธรักษา มหาหงส์ ชงโค เเละตึกพักหญิงชวนชม ตึกพักชายที่ ๑๒, ๑๓, ๑๔ เเละสุดท้ายตึกพักชายที่ ๑๕ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่สร้างเป็นหอพักหญิง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สำหรับทำการเพาะปลูกหรือเเปลงทดลองทางการเกษตร ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ มหาวิทยาลัยได้ตั้งองค์การนิสิตขึ้นเป็นครั้งเเรก เก็บค่าหอพัก๖๐ บาท พ.ศ. ๒๔๙๙ นิสิตจะต้องชำระค่าธรรมเนียมหอพักปีละ ๓๐๐ บาท ค่าธรรมเนียมหอพักได้เพิ่มขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ พ.ศ. ๒๕๒๑ ค่าธรรมเนียมได้เพิ่มขึ้นเป็นภาคการศึกษาละ ๕๐๐ บาท พ.ศ. ๒๕๓๒ ซึ่งเป็นปีเเรกที่มีการนำน้ำประปามาใช้ในหอพักเเทนการใช้น้ำบาดาล ในปัจจุบันเสียค่าธรรมเนียมภาคการศึกษาละ ๒,๐๐๐ บาท ซึ่งเปลี่ยนเเปลงมาจาก ๗๕๐ บาท ในปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๓๘

f t g
deneme bonusu deneme bonusu